หน้าเว็บ

a

รับทำวิทยานิพนธ์

รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำรายงาน การบ้าน วิชาสถิติพื้นฐาน ดุษฎีนิพนธ์ ภาคนิพนธ์ เริ่มตั้งแต่การเขียนเค้าโครง ปรึกษาวางแผนตามกฏธรรมชาติ PDCA (Plan - Do -Check -Action)

- วางแผนทำงาน กำหนด หัวข้อเรื่อง(Propasal) เสนอเรื่องที่จะทำ
- ทำงานเป็นระบบ จัดงานตามที่สั่ง แล้วรอวันเก็บงาน
- ตรวจสอบเอกสาร และเนื้อหา
- ส่งงานตามที่แจ้ง  



การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ (Hyperthesis)

<<<<<รับทำ spss
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
การประมาณค่า เป็นวิธีการอนุมานทางสถิติวิธีหนึ่ง เพื่อจะหาค่าที่คาดว่าน่าจะเป็นค่าของข้อมูลทั้งหมดหรือ
เรียกว่าค่าพารามิเตอร์ของประชากร โดยใช้ค่าของข้อมูลตัวอย่างที่เรียกว่าค่าสถิติ
การประมาณค่า คือ การประมาณค่าพารามิเตอร์ซึ่งเป็นลักษณะของประชากรโดยใช้ค่าสถิติของข้อมูล
ตัวอย่าง หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยค่าสถิติ เช่น
ประมาณค่าเฉลี่ยประชากร (μ) ด้วยค่าเฉลี่ยตัวอย่าง ( x )
ประมาณค่าสัดส่วนหรือร้อยละ (π) ค่าสัดส่วนตัวอย่าง (p)
ประมาณค่าความแปรปรวนประชาการ (σ2)ด้วยค่าความแปรปรวนตัวอย่าง (s2)
การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ เป็นวิธีการอนุมานทางสถิติวิธีหนึ่งที่ใช้ตรวจสอบสมมติฐานวิจัยที่ผู้วิจัยคาดเดา แต่การตรวจสอบนั้นจะไม่ทำกับสมมติฐานวิจัยโดยตรงแต่จะเป็นการตรวจสอบจากสมมติฐานทางสถิติที่ผู้ทดสอบตั้งขึ้นมาให้สอดคล้องกับสมมติฐานวิจัยและนำไปสรุปสมมติฐานวิจัย
หลักเกณฑ์การตั้งสมมติฐานทางสถิติ
สมมติฐานหลัก (H0) ต้องมีเครื่องหมายเท่ากับร่วมอยู่ด้วยหลักเกณฑ์ การปฏิเสธหรือยอมรับสมมติฐาน H0 การทดสอบค่าเฉลี่ย การทดสอบค่าสัดส่วน และการทดสอบค่าความแปรปรวน ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน
การทดสอบสมมติฐานค่าเฉลี่ยสำหรับ 1 กลุ่มตัวอย่าง
สมมติฐานแบบสองทาง
(Two-tails Test)

H0 : μ = μ0
H1 : μ ≠ μ0



แบบทางเดียว
(One-tails Test)

H0 : μ ≤ μ0
H1 : μ > μ0
การทดสอบสมมติฐานผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสำหรับ 2 กลุ่มตัวอย่าง
สมมติฐานแบบสองทาง
(Two-tails Test)
H0 : μ1 - μ2 = μ0
H1 : μ1 - μ2 ≠ μ0

แบบทางเดียว
(One-tails Test)

H0 : μ1 - μ2 ≤ μ0
H1 : μ1 - μ2 > μ0
การทดสอบสมมติฐานค่าเฉลี่ย
การทดสอบสมมติฐานค่าเฉลี่ยสำหรับ 1 กลุ่มตัวอย่าง
เป็นการศึกษาโดยการตรวจสอบว่าคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งของข้อมูลเป็นไปตามที่คาดหวังหรือ
กำหนดไว้หรือไม่ โดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ย คุณลักษณะ เช่น อายุ รายได้ ระดับความพึงพอใจ ฯ ซึ่งถือว่าเป็นตัวแปรหนึ่งตัวแปร หรือเรียกได้ว่า การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ 1 ตัวแปร
ตัวแปรที่นำมาทดสอบต้องเป็นตัวแปรที่คำนวณได้ คือ ระดับช่วง อัตราส่วน ระดับเรียงอันดับ
ตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบ 2 ตัว
กรณีทราบการกระจาย (σ) ของข้อมูลประชากร ใช้ Z-Test
กรณีไม่ทราบการกระจาย (σ) ของข้อมูลประชากร แต่ทราบทราบการกระจายของข้อมูลตัวอย่าง
ใช้ T-Test สำหรับการวิจัยจะใช้ตัวนี้ เพราะเป็นการวิจัยจากข้อมูลตัวอย่าง

การทดสอบสมมติฐานผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสำหรับ 2 กลุ่มตัวอย่าง มี 2 กรณี
เป็นการทดสอบผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของลักษณะที่สนใจของ 2 กลุ่มตัวอย่างว่าแตกต่างกันหรือไม่
1. กรณีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน
2. กรณีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นแบบจับคู่
1. กรณีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน
เป็นการศึกษาเปรียบเทียบและตรวจสอบว่าคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งของข้อมูลระหว่าง 2 กลุ่มมี
ความแตกต่างกันหรือไม่ และถ้าแตกต่างกันนั้นแตกต่างกันอย่างไร โดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ยของคุณลักษณะ
นั้นๆ
การทดสอบแบบนี้จัดอยู่ในประเภทของการวิเคราะห์ข้อมูลแบบ 2 ตัวแปร (Bivariate data analysis)
เนื่องจากการทดสอบจะต้องใช้ตัวแปร 2 ตัว คือตัวแปรหนึ่งแทนคุณลักษณะอีกตัวแปรหนึ่งใช้แบ่งกลุ่ม
ข้อมูลตัวแปรคุณลักษณะ ต้องคำนวณได้ คือ ระดับช่วงและอัตราส่วน
ข้อมูลตัวแปรแบ่งกลุ่ม ต้องคำนวณไม่ได้ คือ Nominal, Ordinal
การทดสอบค่าเฉลี่ยของข้อมูล 2 กลุ่มแบบพาราเมตริก กรณี 2 กลุ่มเป็นอิสระต่อกัน
ข้อมูลที่จะทดสอบต้องมีคุณสมบัติที่สามารถใช้วิธีการการทดสอบแบบพาราเมตริก คือ ข้อมูลหรือ
ตัวแปรที่ต้องการทดสอบจะต้องมีการแจกแจงแบบปกติหรือใกล้เคียงแบบปกติ และสามารถ
คำนวณได้
คือตัวแปรระดับช่วงและอัตราส่วน
ตัวสถิติที่ใช้ทดสอบ
กรณีทราบการกระจายของข้อมูลของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม (ทราบ σ1, σ2) ใช้ Z-Test
กรณีไม่ทราบการกระจายของข้อมูลของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม (ไม่ทราบ σ1, σ2) ใช้ T-Test
ถ้าผู้วิจัยไม่ทราบการกระจายของข้อมูลทั้ง 2 ประชากร และไม่ทราบการกระจายแตกต่างกัน
หรือไม่ ให้
ใช้ข้อมูลตัวอย่างมาทดสอบเพื่อพิจารณาว่าการกระจายของข้อมูลประชากรมีความแตกต่างกัน
หรือไม่

การใช้โปรแกรม SPSS พื้นฐาน

SPSS มาจากคำเต็มว่า Statistical Package for Social Science เป็นโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อการวิจัย

การวิเคราะห์หาสถิติพื้นฐาน (Basic Statistic)
การสร้างตารางแจกแจงความถี่แบบทางเดียวเป็นการแจกแจงข้อมูลตามลักษณะใดลักษณะหนึ่งของข้อมูลเพียงลักษณะเดียว หรือจำแนกค่าของข้อมูลโดยใช้ตัวแปรตัวเดียว เช่น เพศ อายุ รายได้ต่อเดือน
ส่วนใหญ่หาค่า เฉลี่ยน (Mean) , ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D)

การแจกแจงความถี่แบบ Multiple Response
เป็นการแจกแจงความถี่สำหรับตัวแปรที่มีค่าได้หลายลักษณะ คือมีการตอบมากกว่า 1 ข้อ เช่น พฤติกรรมการใช้ พฤติกรรมการสังเกตรายการทีวีช่วงเวลา หรือกรณีชอบสีอะไรเป็นพิเศษ เป็นต้น ส่วนใหญ่หาค่าเฉลี่ยน (Mean,S.D) หรืออาจไปสู่การหาความสัมพันธ์ทางสถิติก็ได้

การหาค่าสถิติเบื้องต้นจำแนกได้ 4 วิธี
1. การหาค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Central Tendency)
1.1 ค่าเฉลี่ย (Mean) เช่น
ค่าเฉลี่ยแบบเลขคณิต (Arithmetic Mean or Average, A.M),
ค่าเฉลี่ยแบบเรขาคณิต (Geometric Mean, F.M),
ค่าเฉลี่ยแบบฮาร์โมนิก (Harmonic Mean, H.M)
1.2 ฐานนิยม (Mode)
1.3 ค่าแสดงตำแหน่งของข้อมูล (N-Tiles) เช่น มัธยฐาน (Median), ควอไทล์ (Quartiles),
เดไซล์ (Deciles) และเปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentiles)
2. การหาค่าการกระจายข้อมูล (Dispersion)
2.1 พิสัย (Range)
2.2 ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (Quartile Deviation)
2.3 ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean Deviation)
2.4 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviaion)
2.5 สัมประสิทธิ์ของการแปรผันหรือการกระจาย (Coefficient of Variation)
3. การหาค่าคะแนนมาตรฐาน (Standard Score)
4. การหาค่าแสดงรูปร่างของโค้งความถี่ (Frequencies Curve, Distribution)
4.1 โค้งปกติ (Normal Curve)
4.2 โค้งเบ้ (Skewness Curve) เช่น โค้งเบ้ซ้าย, โค้งเบ้ขวา




ทฤษฎีและแนวความคิดเกี่ยวกับธุรกิจบริการ (Service Business)

 <<<< รับทำวิทยานิพนธ์
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การบริการ (Service) หมายถึง สิ่งที่จับต้องไม่ได้ โดยกระบวนการที่เกิดขึ้นกับการส่งมอบบริการอาจจะเกิดขึ้นพร้อมกัน และสินค้ากับการบริการก็อาจจะไม่ได้แยกออกจากกัน เช่น ร้านทำนามบัตร ที่มีสินค้าคือนามบัตรกับการบริการของพนักงานควบคู่กันไป

ประเภทของการบริการ


คอตเลอร์ (Kotler.1997) กล่าวว่า ประเภทของการบริการมี 4 ประเภท คือ

1. บริการที่มีรูปลักษณ์พร้อมสินค้า เช่น การผลิตและขายรถยนต์ ยอดขายของผลิตภัณฑ์จะขึ้นอยู่กับคุณภาพและการบริการลูกค้าที่มาพร้อมกับผลิตภัณฑ์

2. บริการที่ผสมผสานกับสินค้า เป็นการผสมผสานระหว่างการบริการกับสินค้าในสัดส่วนที่เท่าๆ กัน เช่น ผู้คนมักเข้าไปในร้านอาหารเพื่อต้องการรับประทานอาหารและการบริการ

3. การบริการหลักพร้อมด้วยสินค้าและบริการรอง เป็นการบริการที่ประกอบไปด้วยการบริการหลักที่พร้อมด้วยการบริการเสริม และหรือ สินค้าสนับสนุน เช่น การซื้อบริการโดยสารเครื่องบิน ซึ่งจุดประสงค์ คือ การเดินทางไปยังจุดหมายปลายทาง แต่ในการเดินทางนั้นๆ จะรวมค่าสินค้ารูปลักษณ์ เช่น อาหารและเครื่องดื่ม รวมถึงนิตยสารต่างๆ บนสายการบินไว้แล้ว

4. การบริการที่แท้จริง เช่น การเลี้ยงเด็ก การบำบัดทางจิต และการนวด เป็นต้น


ลักษณะสำคัญของการบริการ


Cowell กล่าว่า คุณลักษณะของการให้บริการในส่วนที่แตกต่างจากสินค้าทั่วไปมีดังนี้

1. Intangibility บริการเป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้

2. Inseparability บริการเป็นสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากผู้ขาย (ผู้ให้บริการ) ได้

3. Heterogeneity บริการจะไม่สม่ำเสมอขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย

4. Perishability บริการเป็นสิ่งที่ไม่สามารถผลิตเพื่อเก็บไว้สำรองได้

รับทําวิทยานิพนธ์

รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําสารนิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ ภาคนิพนธ์ งานวิจัย IS ,Thesis,Dissertation และรับประมวลผล spss โดยผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อยไม่ต่ำกว่ำ 10 ปี มีประสบการณ์ทั้งในและต่างประเทศ และสามารถประเมินงานก่อนเริ่มงาน และรับประมวลผล SPSS ,Minitab,Eview โดยผู้เชี่ยวชาญทางสถิติ  จาก ทีมงาน รับทําวิทยานิพนธ์

STEPS IN THE RESEARCH PROCESS

Thesis ,dissertation ,IS,term paper,Acadamic ,Essay, research,Article,academic,ป โท, ป เอก ,Phd,Master degree,วิทยานิพนธ์,หัวข้อ,ชื่อเรื่อง ,Journal,สารนิพนธ์,ปริญญานิพนธ์,ดุษฎีนิพนธ์,ปรึกษา,รับทำวิทยานิพนธ์,งาน วิจัย,บทความ,ตัวอย่าง,download

รับทำวิทยานิพนธ์
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
RESEARCH PROCESS
Social research proceeds in a sequence of steps, although various approaches to research suggest slightly different steps. Most studies follow the seven steps discussed here. To begin the process, you select a topic-a general area of study or issue, such as domestic abuse, homelessness, or powerful corporate elites. A topic is too broad for conducting a study. This makes the next step crucial. You must then narrow down the topic, or focus the topic into a specific research question for a study (e.g., "Are people who marry younger more likely to engage in physical abuse of a spouse under conditions of high stress than those who marry older?"). As you learn about a topic and narrow the focus, you should review past research, or the literature, on a topic or question. You also want to develop a possible answer, or hypothesis, and theory can be important at this stage.

After specifying a research question, you have to develop a highly detailedplan on how you will carry-6·lit the study. Th.iS third step requires that you รับทำวิทยานิพนธ์many practical detailsgfsl,ojpgJheJesearch (e.g., whether to use a surveyor qualitative observing in the field, how many subjects to use, etc.). It is only after completing the design stage that you are ready to gather the data or evidence (e.g., ask people the questions, record answers, etc.). Once you have verycarefullycollectedthe data,your next stepis to manipulate or analyze the data. This will help you see any patterns in it and help you to give meaning to or interpret the data (e.g., "People who marry young and grew up in families with abuse have higher rates of physical domestic abuse than those with different family histories"). Finally,you must inform others by writing a report that describes the study's background, how you conducted it, and what you discovered


The seven-step process shown in Figure  is oversimplified. In practice, you will rarely complete one step totally then leave it behind to move to the next step. Rather, the process is interactive in which the steps blend into each other. What you do in a later step may stimulate you to reconsider and slightlyadjust your thinking in a previous one. The process is not strictly linear and mayflowbackand forth before reaching an end. The seven steps are for one research project; it is one cycleof going through the steps inasinglestudyon aspecifictopic.
Science is an ongoing enterprise that builds on prior research and builds a larger, collectively created body of knowledge. Anyone study is a smallpartofthe much largerwholeofscience.A single researcher may be working on multiple research projects at once, or several researchers may collaborate on one project. Likewise, one project may result in one scholarly article or several, and sometimes several smaller projects are reported in a single article.

Cloud Computing

Thesis ,dissertation ,IS,term paper,Acadamic ,Essay, research,Article,academic,ป โท, ป เอก ,Phd,Master degree,วิทยานิพนธ์,หัวข้อ,ชื่อเรื่อง ,Journal,สารนิพนธ์,ปริญญานิพนธ์,ดุษฎีนิพนธ์,ปรึกษา,รับทำวิทยานิพนธ์,งาน วิจัย,บทความ,ตัวอย่าง,download
----------------------------------------------------------------------------------

What is Cloud Computing?
Cloud computing can be defined as the use of computer technology that harnesses the processing power of many inter-networked computers while concealing the structure that is behind it.

This is what creates the backbone of the networks that we access today. While this technology has been around for some time, they way that people within IT organizations
view cloud computing has changed because of the flexibility it can now give them through providing services and applications for users to apply it in what is known as the
back office.

The origins of the term “cloud” can be traced to the concealing nature of this technology’s framework; the system works for users yet they really have no idea the inherent complexities that the system utilizes. What they do not realize is that there is a massive amount of data being pushed globally in real time to make these applications work for them, the scale of which is simply amazing.
The idea of connecting to the cloud in fact is something of a familiar notion among technologists today because it has become a popular buzzword among the technology media.

The only thing users need to be concerned about is the terminal that they are using and whether or not it is connected to the internet so that they can have access to the tools that the cloud can provide.

Unknown to many people is that much of the structure in the information technology industry today is now done within a cloud computing environment or is moving towards
that end. A slow migration towards this has been going on for several years, mainly due to the infrastructure and support costs that go into standalone hardware.It is also due to the economies of scale in larger data centers providing enhanced performance and processing
power. This can be attributed as well to the shift of emerging technologies on the internet towards vast amounts of data that need to be mined, parsed and organized for users to easily understand.

ทฤษฎีของกินซ์เบิร์ก (Ginzberg’s Theory)

Thesis ,dissertation ,IS,term paper,Acadamic ,Essay, research,Article,academic,ป โท, ป เอก ,Phd,Master degree,วิทยานิพนธ์,หัวข้อ,ชื่อเรื่อง ,Journal,สารนิพนธ์,ปริญญานิพนธ์,ดุษฎีนิพนธ์,ปรึกษา,รับทำวิทยานิพนธ์,งาน วิจัย,บทความ,ตัวอย่าง,download
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วิทยานิพนธ์ ของ Arthur G (1972) ได้ศึกษาถึงทฤษฎีของกินซ์เบิร์ก (Ginzberg’s Theory) เป็นทฤษฏีที่เกี่ยวกับการเลือกอาชีพที่เป็นไปตาม การะบวนการทางศึกษา และวุฒิภาวะของบุคคล ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่ในวัยเด็กไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ตอนต้นทฤษฏีนี้จะแบ่งช่วงระยะเวลาของบุคคลในการเลือกอาชีพเป็น 3 ช่วงระยะเวลา ดังนี้

ช่วงระยะเวลาที่ 1 เรียกว่า ช่วงระยะเวลาความคิดเพ้อฝัน (Fantasy Period) ในช่วงเวลานี้ ความคิดความอ่าน เกี่ยวกับอาชีพของเด็กที่มีอายุไม่เกิน 10 ปี จะเป็นไปในลักษณะเพ้อฝันแบบเด็กๆ หรือการคิดจินตนาการต่างๆ

ช่วงระยะเวลาที่ 2 เรียกว่า ช่วงระยะเวลาขั้นการทดลอง (Tentative Period) ช่วงเวลานี้จะสามารถแบ่งเป็นระยะย่อยได้ 4 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 ขั้นความสนใจ (Interests) ในขั้นนี้ความสนใจของบุคคลเป็นปัจจัยที่สาคัญในการเลือกอาชีพ การเลือกอาชีพในขั้นนี้จึงขึ้นอยู่กับความสนใจของแต่ละบุคคล
ขั้นที่ 2 ขั้นความสามารถ (Capacity) การเลือกอาชีพของบุคคลในขั้นนี้จะคานึงถึงความสามารถของตนว่าจะสอดคล้องกับความสนใจอาชีพใดๆ หรือไม่ ดังนั้นในขั้นนี้ความสามารถของบุคคลจะเป็น สิ่งที่กาหนดการเลือกอาชีพของแต่ละบุคคล โดยที่บุคคลจะเลือกอาชีพที่ตรงกับความสามารถของตนเองมากที่สุด
ขั้นที่ 3 ขั้นค่านิยม (Values) ในขั้นนี้เป็นขั้นที่บุคคลซึ่งมีอายุอยู่ในระหว่าง 15 – 16 ปี จะเริ่มตระหนักถึง ความสาคัญของค่านิยมที่ตนมีอยู่ เช่น ค่านิยมที่เกี่ยวกับความมีอิสระในการทางาน การทาเงินรายได้ การมีเวลาว่างมากขึ้น การได้มีโอกาสเดินทางเป็นต้น บุคคลแต่ละคนจะเลือกงานที่สามารถสนองตอบค่านิยมของตนเป็นสาคัญ

ขั้นที่ 4 ขั้นการเปลี่ยนแปลง (Transition) ขั้นนี้เป็นขั้นที่จะมีการเปลี่ยนแปลงจากในช่วงระยะเวลาที่ 2 ไปสู่ช่วงระยะเวลาที่ 3 จะทาให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆ และประมวลผลทางเลือกด้านต่างๆ ก่อนทาการตัดสินใจเลือกอาชีพ


ช่วงระยะเวลาที่ 3 เรียกว่า ช่วงระยะเวลาแห่งความเป็นจริง (Realistic Period) ในช่วงเวลานี้ได้แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นการสารวจ (Exploration) ในช่วงของขั้นการเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นขั้นสุดท้ายของช่วงระยะเวลาที่ 2 แล้วต่อด้วยขั้นตอนแรกของช่วงระยะเวลาที่ 3 คือ ขั้นการสารวจ จะเป็นขั้นตอนที่บุคคลได้ มีโอกาสเลือกอาชีพของตนอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งจะสอดคล้องกับคุณวุฒิภาวะที่มีมากขึ้น และโอกาสของการได้รับการศึกษาในวิทยาลัย ในขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่บุคคลเริ่มคานึงถึงโอกาสและข้อจากัดต่างๆ ตามความเป็นจริงในการเลือกอาชีพ เช่น ระยะเวลาที่จะต้องใช้ในการศึกษา สาหรับอาชีพบางอาชีพ หรือความแตกต่างของรายได้ที่ได้รับระหว่างอาชีพต่างๆ ตลอดจนประโยชน์ และข้อเสียของอาชีพแต่ละอาชีพ เป็นต้น
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นเริ่มเป็นรูปร่าง (Crystallization) ขั้นนี้เป็นขั้นที่บุคคลแต่ละคนสามารถที่จะทาการสังเคราะห์แรงกดดันต่างๆ จากทั้งภายในและภายนอก ซึ่งเกี่ยวข้องกับการตัดสินในเลือกอาชีพของบุคคลเหล่านั้น ความกดดันในเรื่องของเวลาเป็นสิ่งที่บีบบังคับให้บุคคลจาเป็นต้องตัดสินใจเลือกอาชีพใดอาชีพหนึ่ง ภายในระยะเวลาอันจากัด แต่ก็มีบุคคลอีกเป็นจาวนมากที่จะพยายามประวิงเวลาในช่วงนี้ โดยลังเลใจเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกอาชีพ อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะช้าหรือเร็ว แรงกดดันทางการศึกษา และการจ้างงานก็จะเป็นสิ่งที่บีบบังคับให้บุคคลจาเป็นต้องตัดสินใจ เลือกอาชีพในที่สุด
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นระบุชัดแจ้ง (Specification) ขั้นนี้เป็นขั้นตอนสุดท้าย บุคคลทุกคนจะต้องตัดสินในเลือกอาชีพของตน โดยระบุชัดแจ้งว่าจะประกอบอาชีพอะไร ในด้านใด เช่น การเลือก ทางานในธนาคารจากการมีความถนัดทางด้านคณิตศาสตร์ ทางานเป็นนักการฑูตจากการมีความถนัดทางด้านภาษา เป็นต้น




กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ (Brand Building Strategies)

Thesis ,dissertation ,IS,term paper,Acadamic ,Essay, research,Article,academic,ป โท, ป เอก ,Phd,Master degree,วิทยานิพนธ์,หัวข้อ,ชื่อเรื่อง ,Journal,สารนิพนธ์,ปริญญานิพนธ์,ดุษฎีนิพนธ์,ปรึกษา,รับทำวิทยานิพนธ์,งาน วิจัย,บทความ,ตัวอย่าง,download
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 

การสร้างแบรนด์ หมายถึง การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างแบรนด์กับผู้บริโภค ธุรกิจจะสร้างแบรนด์ให้มีความสัมพันธ์กับผู้บริโภครับรู้ได้จากเครื่องมาทางการตลาด ซึ่งประกอบด้วย ความรู้จากผลิตภัณฑ์ ราคา การจำหน่าย และการสื่อสารทางการตลาด เมื่อผู้บริโภครับรู้ และได้ยินผลิตภัณฑ์นั้นแล้ว ผู้บริโภคจะพัฒนาความรู้สึก เห็นภาพลักษณ์ของแบรนด์ และประสบการณ์ที่ได้จากแบรนด์นั้น

เนื่องจากการสร้างแบรนด์เกิดจากลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ และความรู้สึกของผู้บริโภคที่มีต่อแบรนด์ การสร้างแบรนด์จึงเกี่ยวพันกับการกำหนดแนวคิดผลิตภัณฑ์ (Product Concept) และการออกแบบ (Product Design) การตั้งชื่อ และการกาหนดแนวคิดทางการสื่อสาร เพื่อสื่อให้ผู้บริโภคมีการรับรู้ และมีทัศนคติที่ดีต่อแบรนด์ว่าแบรนด์ กล่าวคือ ผู้บริโภคสามารถตีความหมายได้ว่าแบรนด์เป็นเพื่อน เป็นญาติ มีความถนัดด้านใด เป็นต้น ซึ่งการสร้างแบรนด์นั้นใช้เวลา แต่มีความสำคัญในระยะยาว ซึ่งมีขั้นตอนดังต่อไปนี้

1. การกำหนดตำแหน่งทางผลิตภัณฑ์ (Brand Positioning)
2. การกำหนดบุคลิกภาพของแบรนด์ (Brand Personality)
3. การสร้างเอกลักษณ์ให้แบรนด์ (Brand identity)
4. การสื่อสารแบรนด์ (Brand Communcation)
การสร้างแบรนด์ถือว่าเป็นเรื่องสาคัญสาหรับองค์กรเกือบทุกองค์กร เพราะฉะนั้นการสร้างความน่าเชื่อถือจากการประชาสัมพันธ์เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค จึงนาไปสู่การตลาดในการสร้างแบรนด์ เรียกว่า Brand Building Strategies

กลยุทธ์การบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relation Management)

กลยุทธ์การบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relation Management)
CRM คือ การบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relation Management) ที่จะจัดการตลาดและเพิ่มระดับการให้บริการแก่ลูกค้า สร้างความเข้าในความต้องการของลูกค้าและการตอบสนองด้านผลิตภัณฑ์และการบริการผ่านช่องทางต่างๆ เป็นกระบวนการในการสานสัมพันธ์กับลูกค้าอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างความภักดี ทั้งในเชิงคุณค่า ปริมาณ และทัศนคติ อีกทั้ง CRM ก็ไม่ได้หมายถึงเฉพาะแต่เรื่องของซอฟแวร์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง กลยุทธ์ในการเข้าถึงและสื่อสารกับลูกค้าโดยตรง ผ่านสื่อต่างๆ อย่างเป็นกระบวนการอีกด้วย




CRM นั้นมีที่มาจากประเทศตะวันตก แล้วพัฒนาในชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไปในสหรัฐอเมริกาและยุโรป และแพร่หลายเข้ามาในเอเชีย โดยญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกๆ ที่นามาใช้ ซึ่งในสหรัฐอเมริกาและยุโรป เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง ว่าการผูกสัมพันธ์กับลูกค้าเป็นเรื่องที่สาคัญอย่างยิ่งยวด ขณะที่บทบาทของ CRM ในเอเชียยังไม่ได้รับความสนใจมากนัก


ส่วนในเมืองไทยนั้น คำๆนี้เริ่มเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายมากขึ้น หลังภาวะเศรษฐกิจทรุดตัวลงในต้นปี พ.ศ. 2540 การใช้เม็ดเงินต้องมีประสิทธิภาพมากขึ้น การทุ่มโฆษณาต้องคุ้มค่าเมื่อก่อนผู้ประกอบการมักจะคิดถึงแต่ตัวสินค้า แต่ไม่รู้ว่าจะสามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้ระดับไหน แต่พอนนำแนวคิดนี้มาใช้ เป้าหมายทั้งหมดจึงอยู่ที่พฤติกรรม และรูปแบบการดาเนินชีวิตของผู้บริโภค ซึ่งเป็นข้อมูลที่ทาให้รู้ว่า ผู้บริโภคแต่ละคนมีปริมาณความถี่ขนาดไหน ในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์ใดผลิตภัณฑ์หนึ่ง


นักการตลาดจึงหันมาใส่ใจในฐานข้อมูลที่มีอยู่ของตัวเอง ไม่ใช่สินค้าของคู่แข่ง เพราะถ้าเราไม่รักษาฐานลูกค้าของเราเอาไว้ เราจะอยู่ในธุรกิจยาก เนื่องจาก การบริการไม่ตอบสนองต่อลูกค้าอย่างแท้จริง และ การบริการไม่สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้ เป็นการฉายภาพพฤติกรรมของผู้บริโภคกลุ่มใหม่ว่า มีพฤติกรรมในการใช้สินค้ายี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่งบ่อยขนาดไหน แล้วนาข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงพัฒนาเพื่อสร้างความจงรักภักดีในสินค้าให้เกิดขึ้น ขณะที่กลุ่มฐานลูกค้าเดิม ต้องศึกษาถึงพฤติกรรม รสนิยม และทัศนคติ แล้วนาข้อมูลมาปรับปรุง ลดต้นทุนเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการต่อไป

ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences)

Thesis ,dissertation ,IS,term paper,Acadamic ,Essay, research,Article,academic,ป โท, ป เอก ,Phd,Master degree,วิทยานิพนธ์,หัวข้อ,ชื่อเรื่อง ,Journal,สารนิพนธ์,ปริญญานิพนธ์,ดุษฎีนิพนธ์,ปรึกษา,รับทำวิทยานิพนธ์,งาน วิจัย,บทความ,ตัวอย่าง,download
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences)

พหุปัญญา หมายถึง ความสามารถทางด้านต่างๆ ของมนุษย์ การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้แสวงหา และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้ความสามารถต่างๆ เป็นเครื่องมือในการค้นพบความรู้ ทาให้เกิดการเรียนรู้ที่แท้จริงมีพัฒนาการรอบด้าน

Gardner (1993) พบว่า ความสามารถของแต่ละบุคคลมีอย่างน้อย 8 ด้าน บุคคลทุกคนมีความสามารถทุกด้าน แต่ไม่เท่ากัน และมักจะมีความสามารถด้านใดด้านหนึ่งที่เด่นกว่าด้านอื่น นอกจากนี้ยังพบว่าบุคคลต้องใช้ความสามารถทุกด้านในการดารงชีวิตด้วย และความสามารถนั้นไม่ได้แยกจากกัน มีความเกี่ยวพันกัน ซึ่งสมองส่วนต่างๆ เป็นตัวควบคุม เมื่อสมองส่วนใดส่วนหนึ่งถูกทาลาย ความสามารถทางด้านนั้นจะบกพร่องไป และเมื่อความสามารถด้านพัฒนาสูงสุดจะทาให้เกิดความภาคภูมิใจ มีผลทาให้อยากจะพัฒนาความสามารถด้านอื่นๆ ที่ยังบกพร่องให้พัฒนาเพิ่มขึ้นมาอีก


ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) ของการ์ดเนอร์ ซึ่งได้แบ่งเชาวน์ปัญญา หรือสติปัญญาของบุคคล ออกเป็น 8 ด้าน ดังนี้

อัจฉริยะภาพด้านภาษา (Linguistic Intelligence) คือ ความสามารถในการใช้ภาษารูปแบบต่างๆ ตั้งแต่ภาษาพื้นเมือง จนถึงภาษาอื่นๆ ด้วย สามารถรับรู้ เข้าใจภาษา และสามารถสื่อภาษาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ตามที่ต้องการ ผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น ก็มักเป็น กวี นักเขียน นักพูด นักหนังสือพิมพ์ ครู ทนายความหรือนักการเมือง

อัจฉริยะภาพด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Logical-Mathematical Intelligence) คือ ความสามารถในการคิดแบบมีเหตุและผล การคิดเชิงนามธรรม การคิดคาดการณ์ และการคิดคานวณทางคณิตศาสตร์ ผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น ก็มักเป็น นักบัญชี นักสถิติ นักคณิตศาสตร์ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ นักเขียนโปรแกรม หรือวิศวกร

อัจฉริยะภาพด้านมิติสัมพันธ์ (Visual-Spatial Intelligence) คือ ความสามารถในการรับรู้ทางสายตาได้ดี สามารถมองเห็นพื้นที่ รูปทรง ระยะทาง และตาแหน่ง อย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แล้วถ่ายทอดแสดงออกอย่างกลมกลืน มีความไวต่อการรับรู้ในเรื่องทิศทาง สาหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น จะมีทั้งสายวิทยาศาสตร์ และสายศิลปะศาสตร์ ทางด้านสายวิทยาศาสตร์ ก็มักเป็น นักประดิษฐ์ วิศวกร ส่วนสายศิลปะศาสตร์ ก็มักเป็นศิลปินในแขนงต่างๆ เช่น จิตรกร นักวาดรูป นักเขียนการ์ตูน นักปั้น นักออกแบบ ช่างภาพ หรือสถาปนิก เป็นต้น

อัจฉริยะภาพด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว (Bodily Kinesthetic Intelligence) คือ ความสามารถในการควบคุม และแสดงออกซึ่งความคิด ความรู้สึก โดยใช้อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย รวมถึงความสามารถในการใช้มือประดิษฐ์ ความคล่องแคล่ว ความแข็งแรง ความรวดเร็ว ความยืดหยุ่น ความประณีต และความไวทางประสาทสัมผัส สาหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักกีฬา หรือไม่ก็ศิลปินในแขนง นักแสดง นักฟ้อน นักเต้น นักบัลเล่ต์ หรือนักแสดงกายกรรม

อัจฉริยะภาพด้านดนตรี (Musical Intelligence) คือความสามารถในการซึมซับ และเข้าถึงสุนทรียะทางดนตรี ทั้งการได้ยิน การรับรู้ การจดจา และการแต่งเพลง สามารถจดจาจังหวะ ทานอง และโครงสร้างทางดนตรีได้ดี และถ่ายทอดออกมาโดยการฮัมเพลง เคาะจังหวะ เล่นดนตรี และร้องเพลง สาหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักดนตรี นักประพันธ์เพลง หรือนักร้อง
อัจฉริยะภาพด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence) คือ ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น ทั้งด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และเจตนาที่ซ่อนเร้นอยู่ภายใน มีความไวในการสังเกต สีหน้า ท่าทาง น้าเสียง สามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม สร้างมิตรภาพได้ง่าย เจรจาต่อรอง ลดความขัดแย้ง สามารถจูงใจผู้อื่นได้ดี เป็นปัญญาด้านที่จาเป็นต้องมีอยู่ในทุกคน แต่สาหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นครูบาอาจารย์ ผู้ให้คาปรึกษา นักการฑูต เซลแมน พนักงานขายตรง พนักงานต้อนรับ ประชาสัมพันธ์ นักการเมือง หรือนักธุรกิจ

อัจฉริยะภาพด้านการเข้าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence) คือ ความสามารถในการรู้จัก ตระหนักรู้ในตนเอง สามารถเท่าทันตนเอง ควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ และสถานการณ์ รู้ว่าเมื่อไหร่ควรเผชิญหน้า เมื่อไหร่ควรหลีกเลี่ยง เมื่อไหร่ต้องขอความช่วยเหลือ มองภาพตนเองตามความเป็นจริง รู้ถึงจุดอ่อน หรือข้อบกพร่องของตนเอง ในขณะเดียวกันก็รู้ว่าตนมีจุดแข็ง หรือความสามารถในเรื่องใด มีความรู้เท่าทันอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความคาดหวัง ความปรารถนา และตัวตนของตนเองอย่างแท้จริง เป็นปัญญาด้านที่จาเป็นต้องมีอยู่ในทุกคนเช่นกัน เพื่อให้สามารถดารงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีความสุข สาหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักคิด นักปรัชญา หรือนักวิจัย

อัจฉริยะภาพด้านธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence) คือ ความสามารถในการรู้จัก และเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง เข้าใจกฎเกณฑ์ ปรากฏการณ์ และการรังสรรค์ต่างๆ ของธรรมชาติ มีความไวในการสังเกต เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปของธรรมชาติ มีความสามารถในการจัดจาแนก แยกแยะประเภทของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ สาหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักธรณีวิทยา นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย หรือนักสารวจธรรมชาติ



การเขียน DISSERTATION PROPOSAL

Thesis ,dissertation ,IS,term paper,Acadamic ,Essay, research,Article,academic,ป โท, ป เอก ,Phd,Master degree,วิทยานิพนธ์,หัวข้อ,ชื่อเรื่อง ,Journal,สารนิพนธ์,ปริญญานิพนธ์,ดุษฎีนิพนธ์,ปรึกษา,รับทำวิทยานิพนธ์,งานวิจัย,บทความ,ตัวอย่าง,download
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 Draft title
An evaluation of community facilities at Hightown Leisure Centre: their use, management and development


Aim of the research
Following recent criticisms from organisations and the public that the use of the new leisure centre is restricted to certain groups, the study aims to investigate the present use of the centre and to determine whether some people are disadvantaged by the facilities currently offered.
The study will concentrate particularly on the use made of the centre by mothers of small children, ethnic minority groups and the elderly over a six-month period. The hypothesis is that greater community use would result if more attention was paid to the needs of these groups. It is intended that the research will result in practical management Recommendations.
Questions to be addressed include:
1. Are there perceived and real inadequacies in provision?
2. Do they disadvantage certain social groups?
3. Does this have an undesirable effect on community
relations?
4. How may provision be made more equitable?


Style and techniques
The work will be a case study generalisable to other similar centres. Use will also be made of survey and documentary analysis. Instruments for data collection will principally be interview and questionnaire to obtain descriptive statistics. Theoretical base and initial reading
Reference will be made to management theory, management of change and multicultural education.
Field (1991) Post 16, community education and racialequality. Multicultural Teaching
Symonds and Kelly eds (1998) The Social Construction of Community Care
Haworth (1997) Work, Leisure and Well-being

วิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis)


    การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) 

เป็นการระบุถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค  ที่กระทบต่อสายผลิตภัณฑ์
·    จุดแข็ง (Strengths)  เป็นความแข็งแกร่งที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมภายใน  เช่น จุดแข็งด้านส่วนประสมการตลาด/ การเงิน/ การผลิต/ บุคลากร/ การบริหารงาน และการจัดองค์กร

·   จุดอ่อน (Weakness)  เป็นปัญหาที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมภายในด้านต่างๆ ของบริษัท  บริษัทจะต้องหาวิธีการแก้ปัญหานั้น

·  โอกาส (Opportunities)  เป็นข้อได้เปรียบซึ่งวิเคราะห์จากสิ่งแวดล้อมภายนอกที่บริษัทแสวงหาโอกาสเพื่อมากำหนดกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมนั้น  ประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมจุลภาค (ลูกค้า คู่แข่ง ผู้ผลิต คนกลาง) และสิ่งแวดล้อมมหภาค (ประชากรศาสตร์ เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคมวัฒนธรรม การเมือง กฎหมายทรัพยากรธรรมชาติ)

·   อุปสรรค (Threats)  เป็นอุปสรรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมภายนอก ซึ่งธุรกิจจำเป็นต้องกำหนดกลยุทธ์การตลาดให้สอดคล้องและแก้ปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดขึ้น

ทฤษฎีเกี่ยวกับการจูงใจของมาสโลว์(Maslow’s General Theory of Human & Motivation)

Thesis ,dissertation ,IS,term paper,Acadamic ,Essay, research,Article,academic,ป โท, ป เอก ,Phd,Master degree,วิทยานิพนธ์,หัวข้อ,ชื่อเรื่อง ,Journal,สารนิพนธ์,ปริญญานิพนธ์,ดุษฎีนิพนธ์,ปรึกษา,รับทำวิทยานิพนธ์,งาน วิจัย,บทความ,ตัวอย่าง,download
<<<<<<< รับทำวิทยานิพนธ์
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
 ทฤษฎีเกี่ยวกับการจูงใจของมาสโลว์(Maslow’s General Theory of Human & Motivation)

มาสโลว์ได้ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับ แรงจูงใจ(Maslow’s General Theory of Human & Motivation) โดยมาสโลว์ ได้อธิบายถึงความต้องการของมนุษย์ ซึ่งมีลักษณะเป็นลำดับขั้นจากต่ำไปหาสูง (Hierarchy& Needs) และเป็นทฤษฎีที่ยอมรับกันแพร่หลายสมมติฐานดังกล่าวมีความเกี่ยวกับ พฤติกรรมของมนุษย์ดังนี้ (Abraham H.Maslow. 1954: 80 - 106)
1.       มนุษย์มีความต้องการ ความต้องการมีอยู่เสมอ และไม่มีที่สิ้นสุด แต่สิ่งที่มนุษย์ต้องการนั้นขึ้นอยู่กับว่า เขามีสิ่งนั้นอยู่แล้วหรือยัง  ขนาดที่ความต้องการใดได้รับการตอบสนองแล้วความต้องการอื่นจะเข้ามาแทนที่ กระบวนการนี้ไม่มีที่สิ้นสุด  และจะเริ่มตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย
2.       ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้ว จะไม่เป็นสิ่งจูงใจของพฤติกรรมอีกต่อไป ความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนองเท่านั้นที่เป็นแรงจูงใจของพฤติกรรม
3.       ความต้องการของมนุษย์มีลำดับขั้นความสำคัญ กล่าวคือ เมื่อความต้องการระดับต่ำ ได้รับการตอบสนองแล้ว ความต้องการระดับสูงก็จะมีการเรียกร้องให้มีการตอบสนองทันที
4.       ตามทฤษฎีของมาสโลว์ได้แบ่งลำดับขั้นของความต้องการ (Hierarchy of Needs) ไว้ 5 ขั้นจากต่ำไปสูง ดังนี้


ลำดับขั้นความต้องการตามทฤษฎีมาสโลว์
(Maslow’s hierarchy of human needs)
 


1.                 ต้องการของร่างกาย (Physiological needs) เป็นความต้องการพื้นฐานเพื่อความอยู่รอดของชีวิต ได้แก่ ความต้องการปัจจัยสี่ ความต้องการการยกย่อง และความต้องการทางเพศ ฯลฯ เป็นต้น
2.                 ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) เป็นความต้องการที่เหนือกว่าความต้องการอยู่รอด ซึ่งมนุษย์ต้องการเพิ่มความต้องการในระดับที่สูงขึ้น เช่น ต้องการความมั่นคงในการทำงาน ความต้องการได้รับการปกป้องคุ้มครอง ความต้องการความปลอดภัยจากอันตรายต่างๆ เป็นต้น
3.                 ความต้องการด้านสังคม (Social needs) หรือความต้องการความรักและการยอมรับ (Love and belongingness needs) ความต้องการทั้งในแง่ของการให้และการได้รับซึ่งความรัก ความต้องการเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ ความต้องการให้ได้การยอมรับ เป็นต้น
4.                 ความต้องการการยกย่อง (Esteem needs) ซึ่งเป็นความต้องการการยกย่องส่วนตัว (Self-esteem) ความนับถือ (Recognition) และสถานะ (Status) จกสังคม ตลอดจนเป็นความพยายามที่จะให้มีความสัมพันธ์ระดับสูงกับบุคคลอื่น เช่น ความต้องการให้ได้การเคารพนับถือ ความสำเร็จ ความรู้ ศักดิ์ศรี ความสามารถ สถานะที่ดีในสังคมและมีชื่อเสียงในสังคม
5.                 ความต้องการประสบความสำเร็จสูงสุดในชีวิต (Self-actualization needs) เป็นความต้องการสูงสุดแต่ล่ะบุคคล ซึ่งถ้าบุคคลใดบรรลุความต้องการในขั้นนี้ได้ จะได้รับการยกย่องว่าเป็นบุคคลพิเศษ เช่น ความต้องการที่เกิดจากความสามารถทำทุกสิ่งทุกอย่างได้สำเร็จ นักร้องหรือนักแสดงที่มีชื่อเสียง เป็นต้น
 







ส่วนประสมทางการตลาดสำหรับธุรกิจบริการ ( Marketing Mix '7Ps )



Thesis ,dissertation ,IS,term paper,Acadamic ,Essay, research,Article,academic,ป โท, ป เอก ,Phd,Master degree,วิทยานิพนธ์,หัวข้อ,ชื่อเรื่อง ,Journal,สารนิพนธ์,ปริญญานิพนธ์,ดุษฎีนิพนธ์,ปรึกษา,รับทำวิทยานิพนธ์,งาน วิจัย,บทความ,ตัวอย่าง,download
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 
แนวคิดส่วนประสมทางการตลาดสำหรับธุรกิจบริการ  ( Service  Marketing  Mix )
          ศิริวรรณ   เสรีรัตน์ (2541) ได้อ้างถึงแนวคิดส่วนประสมทางการตลาดสำหรับธุรกิจบริการ
( Service  Mix ) ของ Philip  Kotler  ไว้ว่าเป็นแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจที่ให้บริการซึ่งจะได้ส่วนประสมการตลาด (Marketing  Mix ) หรือ  7Ps  ในการกำหนดกลยุทธ์การตลาดซึ่งประกอบด้วย
1.    ด้านผลิตภัณฑ์  (Product) เป็นสิ่งซึ่งสนองความจำเป็นและความต้องการของมนุษย์ได้คือ  สิ่งที่ผู้ขายต้องมอบให้แก่ลูกค้าและลูกค้าจะได้รับผลประโยชน์และคุณค่าของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ  โดยทั่วไปแล้ว  ผลิตภัณฑ์แบ่งเป็น  2  ลักษณะ  คือ  ผลิตภัณฑ์ที่อาจจับต้องได้  และ  ผลิตภัณฑ์ที่จับต้องไม่ได้
2.    ด้านราคา  ( Price ) หมายถึง  คุณค่าผลิตภัณฑ์ในรูปตัวเงิน  ลูกค้าจะเปรียบเทียบระหว่างคุณค่า  ( Value )  ของบริการกับราคา  ( Price ) ของบริการนั้น  ถ้าคุณค่าสูงกว่าราคาลูกค้าจะตัดสินใจซื้อ  ดังนั้น การกำหนดราคาการให้บริการควรมีความเหมาะสมกับระดับการให้บริการชัดเจน  และง่ายต่อการจำแนกระดับบริการที่ต่างกัน
3.    ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย  ( Place ) เป็น กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศสิ่งแวดล้อมในการนำเสนอบริการให้แก่ลูกค้า ซึ่งมีผลต่อการรับรู้ของลูกค้าในคุณค่าและคุณประโยชน์ของบริการที่นำเสนอ  ซึ่งจะต้องพิจารณาในด้านทำเลที่ตั้ง ( Location ) และช่องทางในการนำเสนอบริการ ( Channels )
4.    ด้านส่งเสริมการตลาด  ( Promotion ) เป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญในการติดต่อสื่อสารให้ผู้ใช้บริการ  โดยมีวัตถุประสงค์ที่แจ้งข่าวสารหรือชักจูงให้เกิดทัศนคติและพฤติกรรม  การใช้บริการและเป็นกุญแจสำคัญของการตลาดสายสัมพันธ์
5.    ด้านบุคคล  ( People ) หรือพนักงาน ( Employee ) ซึ่งต้องอาศัยการคัดเลือก  การฝึกอบรม  การจูงใจ  เพื่อ ให้สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้แตกต่างเหนือคู่แข่งขันเป็นความ สัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการต่าง ๆ ขององค์กร  เจ้าหน้าที่ต้องมีความสามารถ  มีทัศนคติที่สามารถตอบสนองต่อผู้ใช้บริการ  มีความคิดริเริ่ม  มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา  สามารถสร้างค่านิยมให้กับองค์กร
6.    ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical  Evidence and Presentation )  เป็นการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพให้กับลูกค้า  โดยพยายามสร้างคุณภาพโดยรวม  ทั้งทางด้ายกายภาพและรูปแบบการให้บริการเพื่อสร้างคุณค่าให้กับลูกค้า  ไม่ว่าจะเป็นด้านการแต่งกายสะอาดเรียบร้อย  การเจรจาต้องสุภาพอ่อนโยน  และการให้บริการที่รวดเร็ว  หรือผลประโยชน์อื่น ๆ ที่ลูกค้าควรได้รับ
7.    ด้านกระบวนการ ( Process) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับระเบียบวิธีการและงานปฏิบัติในด้านการบริการ  ที่นำเสนอให้กับผู้ใช้บริการเพื่อมอบการให้บริการอย่างถูกต้องรวดเร็ว  และทำให้ผู้ใช้บริการเกิดความประทับใจ

เคล็ดลับการเขียนเอกสารการวิจัย (Wrtting Article ,Journal and Research paper)

เคล็ดลับการเขียนเอกสารการวิจัย  (Wrtting Article ,Journal and Research paper) 
เอกสารการวิจัยเป็นการเขียนเอกสารทางวิชาการ ในการเขียนนักวิจัยต้องดำเนินการตามรูปแบบและวิธีการตามที่ระบุ เพื่อให้เกิดความชัดเจนและสื่อสารได้ง่ายและสะดวก เอกสารการวิจัยหลัก ได้แก่ รายงานการวิจัยที่นักวิจัยเขียนขึ้นเพื่อรายงานการดำเนินงานวิจัยและผลการวิจัยที่ได้รับ และบทคัดย่อการวิจัยที่นักวิจัยเขียนขึ้นเพื่อสรุปสาระสำคัญโดยสังเขปเพื่อให้ง่ายต่อการสืบค้นของผู้สนใจงานวิจัย
1.ชื่อเรื่องการวิจัย
        ชื่อเรื่องเป็นการให้กรอบการวิจัยครั้งนี้ในระดับกว้างเพื่อให้มองเห็นแนวทางและทิศทางของการวิจัยนั้น
1.1 .รูปแบบการเขียน  ชื่อเรื่องการวิจัยเขียนให้ประกอบด้วย(ก)วิธีศึกษา (ข)ประเด็นหลักหรือตัวแปรหลักและ(ค)ขอบเขตด้านประชากร เวลาหรือพื้นที่
ตัวอย่างเช่น   
             ชื่อเรื่องที่1  การวิเคราะห์ผลตอบแทนของการปลูกแตงโมนอกฤดูกาล

1.2 หลักการเขียน  การเขียนชื่อเรื่องมีหลักการทั่วไปดังนี้
(ก) เขียนให้กว้างพอเห็นเป็นแนวทางมีความยาวหนึ่งบรรทัด
(ข) เขียนให้สอดคล้องกับปัญหาที่ต้องการวิจัย
(ค) เขียนเป็นคำนาม ขึ้นต้นด้วยคำว่า การ
(ง) เขียนให้มีวิธีการศึกษา เช่น การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์
(จ) เขียนให้มองเห็นวิธีการวิจัยเช่นการทดลอง การสำรวจ
(ฉ) เขียนให้มีขอบเขตด้านประชากร พื้นที่ เวลา

2.การเขียนสาระประจำบท
        รายงานการวิจัยเขียนให้ประกอบด้วยสาระสำคัญ 5 บท แต่ละบทจะนำเสนอสาระสำคัญต่อเนื่องกัน อย่างเชื่อมโยง ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน เพื่อตอบปัญหาการวิจัยหนึ่งเรื่อง
1.1   .รูปแบบการเขียน สาระสำคัญของรายงานการวิจัยแบ่งออกเป็น 5บท คือ
บทนำ การสำรวจวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัยและสรุปผล
        ตัวอย่างเช่น   สารบัญของรายงานการวิจัย เรื่อง การวิเคราะห์
ผลตอบแทนของการปลูกแตงโมนอกฤดูกาล  
                            บทที่บทนำ
                            บทที่2 ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
                            บทที่3 วิธีดำเนินการวิจัย
                            บทที่4 ผลการวิจัย
                            บทที่5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ

         จากตัวอย่างข้างบน สามารถวิเคราะห์ตามรูปแบบได้ดังนี้  

สาระสำคัญ
ตัวอย่าง
บทนำ
บทที่บทนำ
การสำรวจวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
บทที่2 ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัย

วิธีดำเนินการวิจัย 
บทที่3 วิธีดำเนินการวิจัย
 ผลการวิจัย
บทที่4 ผลการวิจัย
 สรุปผล
บทที่5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ

1.2 หลักการเขียน  การเขียนสาระสำคัญมีหลักการทั่วไปดังนี้
() เขียนให้มีสาระสำคัญครบถ้วน
() เขียนให้เชื่อมโยงสอดคล้องสัมพันธ์กัน
() เขียนให้เป็นเหตุเป็นผลงาน
() เขียนให้มีส่วนประกอบหน้าและหลังครบถ้วน

ความพึงพอใจ (Satisfaction) คืออะไร วัดผลอย่างไร


ความพึงพอใจ ได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลากหลาย พอจะรวบรวมได้เป็นสังเขปดังนี้
                มอส (Morse.1958:19) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง สภาวะจิตที่ปราศจากความเครียดทั้งนี้เพราะธรรมชาตของมนุษย์มีความต้องการ ถ้าความต้องการได้รับการตอบสนองทั้งหมดหรือบางส่วน ความเครียดก็จะน้อยลง ความพึงพอใจก็จะเกิดขึ้นและในทางกลับกันถ้าความต้องการนั้นไม่ได้รับการตอบสนอง ความเครียดและความไม่พึงพอใจก็จะเกิดขึ้น
                วรูม (Vroom.1964:8) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึงผลที่ได้จากการที่บุคคลเข้าไปมีส่วนร่วมในสิ่งนั้น ทัศนคติด้านบวกจะแสดงให้เป็นสภาพความพึงพอใจในสิ่งนั้น และทัศนคติด้านลบจะแสดงให้เห็นสภาพความไม่พึงพอใจนั่นเอง
                เมนาร์ด ดับบริล เชลลี่ (Maynard W.Shelly.1975:9) ได้ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ซึ่งสรุปได้ว่าความพึงพอใจเป็นความรู้สึก แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ความรู้สึกในทางบวกและความรู้สึกในทางลบ ความรู้สึกในทางบวกเป็นความรู้สึกที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วทำให้เกิดความสุข ความสุขนี้เป็นความสุขที่แตกต่างจากความรู้สึกทางบวกอื่นๆ กล่าวคือเป็นความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับความสุขสามารถทำให้เกิดความสุขหรือความรู้สึกทางบวกอื่นๆ ความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวกและความรู้สึกที่มีความสัมพันธ์กันอย่างสลับซับซ้อนและระบบความสัมพันธ์ของความรู้สึกทั้งสามนี้ เรียกว่า ระบบความพึงพอใจ
                ความสำคัญของความพึงพอใจ
                ความพึงพอใจ เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่ช่วยให้งานสำเร็จโดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็น
งานที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ นอกจากผู้บริหารจะดำเนินการให้ผู้ปฏิบัติงานให้บริการเกิดความพึงพอใจในการทำงานแล้ว ยังจำเป็นต้องดำเนินการที่จะให้ผู้มาใช้บริการเกิดความพึงพอใจด้วย เพราะความเจริญเติบโตของงานบริการ ปัจจัยที่เป็นตัวบ่งชี้ คือ จำนวนผู้มาใช้บริการ ดังนั้นผู้บริหารที่ชาญฉลาดจึงควรอย่างยิ่งที่จะศึกษาให้ลึกซึ้งถึงปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่จะทำให้เกิดความพึงพอใจทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ
 
การวัดระดับความพึงพอใจ
                ที่กล่าวมาข้างต้น ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นหรือไม่ ขึ้นอยู่กับการให้บริการขององค์กรประกอบกับระดับความรู้สึกของผู้มารับบริการในมิติต่างๆของแต่ละบุคคล ดังนั้นการวัดระดับความพึงพอใจ สามารถกระทำได้หลายวิธีต่อไปนี้
                1. การใช้แบบสอบถาม ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย โยการขอความร่วมมือจากกลุ่มบุคคลที่ต้องการวัด แสดงความคิดเห็นลงในแบบฟอร์มที่กำหนด
                2. การสัมภาษณ์ ต้องอาศัยเทคนิคและความชำนาญพิเศษของผู้สัมภาษณ์ที่จะจูงใจให้ผู้ตอบคำถามตอบตามข้อเท็จจริง
                3. การสังเกต เป็นการสังเกตพฤติกรรมทั้งก่อนการรับบริการ ขณะรับบริการและหลังการรับบริการ การวัดโดยวิธีนี้จะต้องกระทำอย่างจริงจังและมีแบบแผนที่แน่นอนจะเห็นได้ว่าการวัดความพึงพอใจต่อการให้บริการนั้นสามารถกระทำได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับความสะดวก เหมาะสม ตลอดจนจุดมุ่งหมายของการวัดด้วย จึงจะส่งผลให้การวัดนั้นมีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือได้