หน้าเว็บ

a

สารนิพนธ์ คืือะไร

สารนิพนธ์ คืออะไร มีความคล้ายคลึงกับวิทยานิพนธ์ หรือไม่ มีคำตอบ

  • สารนิพนธ์(คำอ่าน : สาระนิพนธ์) หมายถึง การศึกษาวิจัยอิสระที่มีเนื้อหางานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา  โดยต้องอาศัยการกลั่นกรองความรู้และสาระในเนื้อหา โดยทั่วไปแล้วมีเนื้อหาและรายละเอียดคล้ายคลึงกับวิทยานิพนธ์เพียงแต่ต่างวาระ ต่างกรรม การดำเนินการในเชิงปฏิบัิติอาจมีความต่างกันกับเนื้อหาที่เข้มงวดของกรรมการสอบ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องง่ายกว่าการสอบวิทยานิพนธ์ นี้คือความแตกต่างในการทำวิทยานิพนธ์




การเข้ารหัสทฤษฎีการเรียนรู้

Thesis ,dissertation ,IS,term paper,Acadamic ,Essay, research,Article,academic,ป โท, ป เอก ,Phd,Master degree,วิทยานิพนธ์,หัวข้อ,ชื่อเรื่อง ,Journal,สารนิพนธ์,ปริญญานิพนธ์,ดุษฎีนิพนธ์,ปรึกษา,รับทำวิทยานิพนธ์,งาน วิจัย,บทความ,ตัวอย่าง,download
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ทฤษฎีการเข้ารหัส-ถอดรหัสข้อมูล. การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) จะมีคีย์เวริดสำคัญในการเข้ารหัสของเว็บนี้ เป็นประตูสู่กุญแจทางความคิด ใครเรียนวิชาการถอดรหัสคำสามารถนำไปสร้างทฤษฎีการเรียนตัวการเรียนรู้ สาระประโยคได้ ตัวอย่าง การเข้ารหัสที่สับซ้อน เป็นดัชนีการเรียนตัวที่สำคัญ ฐาน ข้อมูลวิทยานิพนธ์,การศึกษาค้นคว้าอิสระ (Independent Study), ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ ของ ,Abstract, บทความ/Article, งานวิจัย/Research report, วิทยานิพนธ์/Thesis, รูปภาพ/Image, Image คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์,eBooks บรรณานุกรม เชิงอนาคต PDF, สารนิพนธ์ ภาคนิพนธ์ งานค้นคว้าอิสระ ค้นคว้าข้อมูล,ไหนรับทำ วิทยานิพนธ์ภาษา อังกฤษ,TheSisAvenue.com,ขายรับทำ วิทยานิพนธ์ ,ซื้อรับทำวิทยานิพนธ์ , สินค้า เกี่ยวกับ.,งบการเงิน มัธยม ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก,รับ ทำวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ งานวิจ้ย ค้นคว้าอิสระ ด้านเศรษฐศาสตร์ การจัดการ บริหารธุรกิจ การตลาด แผนธุรกิจ แผนการตลาด เศรษฐศาสตร์,ซื้อ ขายรับทำ วิทยานิพนธ์ เช่ารายละเอียดรับทำวิทยา นิพนธ์ เกี่ยวกับแบบสอบถามนี้ใช้วัดความพึงพอใจข้อมูลองค์ประกอบด้านความรู้สึก ( The Affective Component) คือ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมีผลแตกต่างกันไปตาม บุคลิกภาพ ของคนนั้น เป็นลักษณะที่เป็นค่านิยมของแต่ละบุคคลรับทำวิทยา นิพนธ์.ธุรกิจ รับจ้าง ขายตรง งานวิจัย สาร นิพนธ์ คือการ เขียนวิจัยปริญญานิพนธ์ภาค นิพนธ์การ เขียน สาร นิพนธ์ค้น คว้า อิสระงาน ด่วนรับ ทำวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ แผนการตลาด รับทำวิจัย ดุษฏีนิพนธ์ ป. โท/เอก,ในสาขานิเทศศาสตร์ บริหารธุรกิจ บริหารการศึกษา, รัฐศาสตร์ ,รัฐประศาสนศาสตร์ และอื่น ๆ,(CMU e-Theses). สืบค้นเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) จากวิทยานิพนธ์ (Theses). และการศึกษาค้นคว้าอิสระ (Independent Study),ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,แบบสำรวจความพึงพอใจ ผู้ใช้บริการฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ออนไลน์,ชื่อเรื่อง,ผู้แต่ง ,หัวเรื่อง,ปี พ.ศ. ชื่อผู้วิจัย, ระดับปริญญา, สถาบัน, ชื่อวิทยานิพนธ์, ฉบับเต็ม • แสดงรายการตามสาขาวิชา,ความหมายและความสำคัญของวิทยานิพนธ์. องค์ประกอบของวิทยา นิพนธ์. ขั้นตอนการลงทะเบียนและการทำวิทยา นิพนธ์. การสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์. องค์ประกอบด้านความรู้ ( The Cognitive Component) คือ องค์ประกอบด้านพฤติกรรม ( The Behavioral Component) คือ การแสดงออกของบุคคลต่อสิ่งหนึ่ง หรือบุคคลหนึ่ง ซึ่งเป็นผลมาจาก องค์ประกอบด้านความรู้ ความคิด และความรู้สึกส่วนที่เป็นความเชื่อของบุคคลการดำเนินการทำวิทยานิพนธ์,,THESES AND DISSERTATIONS,สืบค้น/สารนิพนธ์ชื่อผู้จัดทำ อาจารย์ที่ปรึกษา รหัสนักศึกษา : สาขาวิชา ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ผู้ส่งสาร (Source) ผลของสารที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ ของบุคคลขึ้นอยู่กับ ผู้ส่งสาร ลักษณะของผู้ส่งสารบางอย่าง จะสามารถ มีอิทธิพลต่อบุคคลอื่นมากกว่าลักษณะอื่น ๆ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบบสืบค้นวิทยา นิพนธ์และภาคนิพนธ์ ระบบสืบค้น คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตบัฒนบริหารศาสตร์ แปลเอกสาร แปลลงานวิจัย แปลบทคัดย่อ 1. การยินยอม (Compliance)การยินยอม จะเกิดได้เมื่อ บุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลต่อตัวเขา และมุ่งหวังจะได้รับ ความพอใจ จากบุคคล หตรวจแก้วิทยานิพนธ์ แปลข่าว และรายงาน หนังสือ Textbook รับเขียน Essay Resume ProQuest Digital Dissertation มหาวิทยาลัยเทคโนสุรนารี • Theses Canada • วิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม ตัวอย่างดังกล่าว การเลียนแบบ (Identification)กอ (Channel) หรือช่องทางการสื่อสาร เป็นเรื่องของประเภทและชนิดของสื่อที่ใช้ารเลียนแบบ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งเร้า หรือสิ่งกระตุ้น แนวโน้มโลกไอทีมาแรงปี 2009 ซึ่งการยอมรับนี้เป็นผลมาจาก การที่บุคคล ต้องการจะสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรือที่พอใจระหว่างตนเองกับผู้อื่นนัพัฒนาการ (Development)คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงตามวัยของมนุษย์ ที่เป็นผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อมศึกษาสามารถใช้เป็นแบบอย่างในการพิมพ์วิทยานิพนธ์ download Free Books Doc Microsoft Word Doc Books Doc Microsoft Word Doc from e-Book Market ปริญญาเอก PowerPoint Presentation from Online Associate, thai Digital Collection : เป็นโครงการหนึ่งของ ThaiLis.ฐานข้อมูลหนังสือ วารสาร ฐานข้อมูลรัฐบาลพ.ต.ท.ทักษิณ.วิทยานิพนธ์ฉบับเต็มของ มช.หอสมุดแห่งชาติ • กรมสุขภาพจิต ห้องสมุด • กรมส่งเสริมการส่งออกลงาน วิจัย,วุฒิภาวะ (Maturation)วุฒิภาวะ คือ กระบวนการของการเจริญเติบโต หรือการเปลี่ยนแปลงในร่างกายมนุษย์ ซึ่งเกิดขึ้นโดย ธรรมชาติ อย่างมีระบบระเบียบ โดยไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเร้าภายนอกโครงการวิจัย,งานวิจัยฉบับสมบูรณ์,โครงงาน,งาน วิจัยวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ IS สืบค้นข้อมูล ทั้งนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง การบริหารองค์กรสอบหัวข้อวิทยานิพนธ์ ประกาศหัวข้อ หน้าปก. - หน้าปก. - บทคัดย่อ / สารบัญ. - บทคัดย่อ / ประกอบด้วยพลัง ๓ ประการ ได้แก่ Id, Ego และ Super Egสารบัญ สัญญะทางการเมืองปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม.ทัศนคติ พฤติกรรม ปญหาและแนวทางแกไขปญหาของประชาชนผูใช้ติดต่อ สื่อสารอิทธิพลต่อการรับรู้ในองค์การด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจ และแนวโน้มพฤติกรรม. การบริโภคนมขอบเขตศึกษาถึงความสำคัญของพฤติกรรมของนัก ท่องเที่ยวชาวต่าง คำถามเกี่ยวกับประเด็นที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำงาน. คำชี้แจงระดับความคาดหวังมีต่อการเลือกใช้บริการสายการบินคู่มือการจัด ทำแผนการจัดการความรู้ คอตเตอร์ (Kotter, 1999) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด กล่าวไว้ว่า การบริหารจัดการ (Management) หมายถึง ความสามารถในการเผชิญกับสถานการณ์ที่สลับซับซ้อนได้ การบริหาร ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและให้แนวทางในการจัดทำ แผนการจัดการความรู้

หลักและวิธีการเขียนบทนำ


หลักและวิธีการเขียนบทนำ 
บทที่หนึ่งของเอกสารการวิจัยเป็นบทนำ เขียนเพื่อเสนอประเด็นปัญหาการวิจัยและการตีกรอบปัญหาการวิจัยให้ชัดเจน ประกอบด้วยความเป็นมาของปัญหาการวิจัยและความสำคัญ วัตถุประสงค์การวิจัย ขอบเจตการวิจัย สมมุติฐานการวิจัย คำนิยามศัพท์เฉพาะและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 
1.ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย
        ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาเป็นหัวข้อแรกของบทนำ มีจุดประสงค์เพื่อบอกถึงปัญหาการวิจัยครั้งนี้ คือ อะไร
          1.1 รูปแบบการเขียน  ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัยเขียนให้ประกอบด้วย(ก)แนวคิดเชิงทฤษฎี(ข)สภาพปัจจุบัน(ค) ปัญหาที่เกิดขึ้นและ(ง)ความสำคัญของปัญหานั้น  
        ตัวอย่างเช่น
        ภาษาเป็นเครื่องมือในการศึกษาหาความรู้ แต่ในปัจจุบันนักเรียนยังอ่านหนังสือไม่ออก  ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาว่า นักเรียนมีความสามารถทางการอ่านในระดับใด เพื่อจะได้ใช้เป็นแนวทางในการแก้ไข  การวิจัยครั้งนี้จะทำให้ทราบระดับความสามารถในการอ่านของนักเรียนและจะเป็นแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการอ่านของนักเรียนในโรงเรียนต่อไป
        จากตัวอย่างข้างบน สามารถวิเคราะห์ตามรูปแบบได้ดังนี้   
ความเป็นมาและความสำคัญ
ตัวอย่าง
หลักการหรือแนวคิด
ภาษาเป็นเครื่องมือในการศึกษาหาความรู้
สภาพปัจจุบัน
ปัจจุบันนักเรียนยังอ่านหนังสือไม่ออก
ปัญหาที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความสามารถทางการอ่านในระดับใด
ความสำคัญของปัญหา
ทราบระดับความสามารถในการอ่านของนักเรียน
เป็นแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการอ่าน

          1.2 หลักการเขียน  การเขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัยมีหลักการทั่วไปดังนี้
(ก) เขียนจากแนวกว้างไปสู่แคบจนถึงปัญหาการวิจัย
(ข) ระบุปัญหาการวิจัยในรูปคำถามหรือประโยคบอกเล่าก็ได้
 (ค) เขียนให้มีการอ้างอิงข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้า
 (ง) เขียนให้เห็นความสำคัญเชิงประโยชน์หรือเชิงโทษที่จะได้รับ
 (จ) เขียนความยาวประมาณ 3-5 กระดาษ

2.วัตถุประสงค์การวิจัย
        วัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็นหัวที่สองของบทนำ มีจุดประสงค์เพื่อบ่งบอกถึงคำถามที่ต้องการได้คำตอบตามปัญหาการวิจัยครั้งนี้ คือ อะไรบ้าง
2.1 รูปแบบการเขียน วัตถุประสงค์ของการวิจัยเขียนให้ประกอบด้วยวิธีศึกษา
ประเด็นย่อยในประเด็นหลักหลักและขอบเขตประชากร พื้นที่หรือเวลา  
ตัวอย่างเช่น 
 การวิจัยเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการเรียนกับผลการ
สอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของผู้สมัครสอบ ประจำปี 2548  นักวิจัยสามารถเขียนวัตถุประสงค์การวิจัยได้ดังนี้ 
(ก)เพื่อศึกษาปัจจัยทางการเรียนกับผลการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของผู้สมัครสอบ ประจำปี 2548
(ข).เพื่อศึกษาผลการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของผู้สมัครสอบ ประจำปี 2548
(ค).เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการเรียนกับผลการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของผู้สมัครสอบ ประจำปี 2548  

จากตัวอย่างข้างบน สามารถวิเคราะห์ตามรูปแบบได้ดังนี้
ชื่อเรื่อง 
วัตถุประสงค์
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการเรียนกับผลการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของผู้สมัครสอบ ประจำปี 2548

1.เพื่อศึกษาปัจจัยทางการเรียนกับผลการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของผู้สมัครสอบ
2.เพื่อศึกษาผลการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของผู้สมัครสอบ
3.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการเรียนกับผลการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของผู้สมัครสอบ

2.2  หลักการเขียน การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัยมีหลักการทั่วไปดังนี้
(ก) เขียนเป็นข้อๆประมาณ 3-5 ข้อ
(ข) เขียนให้อยู่ในกรอบของชื่อเรื่องการวิจัย
(ค) เขียนให้ขึ้นต้นด้วยคำว่า เพื่อ....
(ง)  อาจเขียนในรูปประโยคคำถามได้

3.สมมุติฐานการวิจัย   
        สมมุติฐานการวิจัยเป็นหัวที่สามของบทนำ มีจุดประสงค์เพื่อเสนอคำตอบของคำถามการวิจัยที่แสดงไว้ในหัวข้อวัตถุประสงค์ของการวิจัย
3.1 .รูปแบบการเขียน สมมุติฐานการวิจัยเขียนให้เป็นคำตอบของวัตถุประสงค์หรือคำถามการวิจัย   
ตัวอย่างเช่น
 การวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลการเจริญเติบโตของต้นถั่วลิสงจากการใช้ปุ๋ยอินทรีย์กับปุ๋ยเคมี นักวิจัยได้เสนอสมมุติฐานการวิจัยได้ดังนี้
1. ต้นถั่วลิสงที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์มีความสูง  1.59 ฟุต
2. ต้นถั่วลิสงที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีมีความสูง  1.94 ฟุต
3. ต้นถั่วลิสงที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์สูงกว่าที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมี

  จากตัวอย่างข้างบน สามารถวิเคราะห์ตามรูปแบบได้ดังนี้
วัตถุประสงค์การวิจัย
   สมมุติฐานการวิจัย
1.เพื่อศึกษาความสูงของต้นถั่วลิสงที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์
2.เพื่อศึกษาความสูงของต้นถั่วลิสงที่ใช้ปุ๋ยเคมี
3.เพื่อศึกษาความสูงของต้นถั่วลิสงจากการใช้ปุ๋ย2 ชนิด
1.ต้นถั่วลิสงที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์มีความสูง  1.59 ฟุต
2.ต้นถั่วลิสงที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีมีความสูง  1.94 ฟุต

3.ต้นถั่วลิสงที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์สูงกว่าต้นถั่วลิสงที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมี

3.2 หลักการเขียน  การเขียนสมมุติฐานการวิจัยมีหลักการทั่วไปดังนี้
(ก) เขียนเป็นข้อๆประมาณ 3-5 ข้อ
(ข) เขียนให้สอดคล้องและเป็นคำตอบของวัตถุประสงค์การวิจัย  
(ค) เขียนให้มีทิศทางที่สามารถทดสอบได้ด้วยข้อมูลจากการวิจัย
(ง) เขียนให้ชัดตรวจสอบได้ ไม่ใช้คำว่า ประมาณ  

4.ขอบเขตการวิจัย
        ขอบเขตการวิจัยของการวิจัยเป็นหัวที่สี่ของบทนำ มีจุดประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตของการวิจัยครั้งนี้ให้จำเพาะเจาะจง ว่าสิ่งใดต้องการวิจัยและสิ่งใดที่ไม่ต้องการวิจัย
4.1 .รูปแบบการเขียน ขอบเขตการวิจัยเขียนให้ประกอบด้วย 5 เรื่อง คือขอบเขตเกี่ยวกับประเด็นหลักในชื่อเรื่อง ขอบเขตเกี่ยวกับประชากรในการวิจัย .ขอบเขตเกี่ยวกับพื้นที่ที่ใช้วิจัย  .ขอบเขตเกี่ยวกับเวลาที่ทำวิจัย และขอบเขตเกี่ยวกับตัวแปร 
ตัวอย่างเช่น  การวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์ผลตอบแทนของการปลูกแตงโมนอกฤดูกาล นักวิจัยได้เขียนขอบเขตการวิจัยไว้ดังนี้ 
(ก.การวิจัยนี้ศึกษาต้นทุน รายได้และผลตอบแทนของการปลูกแตงโมนอกฤดูกาลเฉพาะประเภทที่คิดได้เป็นตัวเงินเท่านั้น ทั้งนี้ไม่ศึกษาถึงผลตอบแทนการปลูกแตงโมในฤดูกาล 
(ข)การวิจัยครั้งนี้ศึกษากับแตงโมพันธุ์จินตหลาและพันธุ์บอมเบย์จากเมล็ดพันธุ์ที่กรมวิชาการเกษตรแนะนำพันธุ์ให้เกษตรกรปลูกเท่านั้น ไม่รวมถึงแตงโมพันธุ์พื้นเมืองหรือพันธุ์อื่น

(ค).การทดลองปลูกแตงโมดำเนินการที่จังหวัดราชบุรี ครอบคลุมพื้นที่ 3
อำเภอ คืออำเภอจอมบึง อำเภอสวนผึ้ง และอำเภอบ้านโป่ง
(ง).การวิจัยนี้ดำเนินการทดลองปลูกแตงโมนอกฤดูกาล ระหว่างเดือนมกราคม-เมษายน ปี พ.ศ.2546
(จ).ในการวิจัยมีตัวแปรต้น ได้แก่  ฤดูกาล และตัวแปรตามได้แก่ ผลตอบแทนในการปลูกแตงโม

จากตัวอย่างข้างบน สามารถวิเคราะห์ตามรูปแบบได้ดังนี้
 ชื่อเรื่องและขอบเขต
การวิเคราะห์ผลตอบแทนของการปลูกแตงโมนอกฤดูกาล
 ด้านเนื้อหา
ผลตอบแทน ต้นทุน รายได้
 ด้านประชากร
พันธุ์จินตหลาและพันธุ์บอมเบย์
 ด้านพื้นที่
จังหวัดราชบุรี
 ด้านเวลา
ปี พ.ศ.2546
 ด้านตัวแปร
ตัวแปรต้น   ฤดูกาล
ตัวแปรตาม  ผลตอบแทน

4.2 หลักการเขียน  การเขียนขอบเขตการวิจัยมีหลักการทั่วไปดังนี้
(ก) เขียนเป็นข้อๆหรืออาจเขียนพรรณนาก็ได้
(ข) เขียนให้ขยายความขอบเขตที่ระบุไว้ในชื่อเรื่องการวิจัย
(ค) เขียนโดยใช้คำที่แสดงถึงขอบเขต เช่น คำว่า ศึกษาเฉพาะ
      ’ครอบคลุมถึงหรือ ไม่รวมถึงหรือจบด้วยเท่านั้น

5.คำนิยามศัพท์เฉพาะ
        คำนิยามศัพท์เฉพาะเป็นหัวที่หกของบทนำ มีจุดประสงค์เพื่อสื่อสารคำและข้อความที่ใช้ในการวิจัยนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงกัน ทำให้เกิดความชัดเจนในต่างๆ
5.1 รูปแบบการเขียน  คำนิยามศัพท์เฉพาะเขียนให้เป็นนิยามปฏิบัติการของตัว
แปรที่สังเกต วัดและประเมินได้ โดยนิยามปฏิบัติการ   
ตัวอย่างเช่น  การวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลการเจริญเติบโตของต้นถั่วลิสง
 จากการใช้ปุ๋ยอินทรีย์กับปุ๋ยเคมี นักวิจัยเขียนนิยามคำศัพท์สำคัญดังนี้
1.การเจริญเติบโตของพืช หมายถึง ความสูงของต้นถั่วจากพื้นดินถึงปลายยอด
2.ปุ๋ยอินทรีย์ หมายถึง ปุ๋ยที่ผลิตชึ้นจากผลิตถัณฑ์ของพืชหรือสัตว์
        3.ปุ๋ยเคมี หมายถึง ปุ๋ยที่ผลิตขึ้นโดยดระบวนการทางอุตสาหกรรม

จากตัวอย่างข้างบน สามารถวิเคราะห์ตามรูปแบบได้ดังนี้
วัตถุประสงค์การวิจัย
  นิยามคำเฉพาะศัพท์
1.เพื่อศึกษาความสูงของต้นถั่วลิสงที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์
2.เพื่อศึกษาความสูงของต้นถั่วลิสงที่ใช้ปุ๋ยเคมี

3.เพื่อศึกษาความสูงของต้นถั่วลิสงจากการใช้ปุ๋ย2 ชนิด
1.การเจริญเติบโตของพืช หมายถึง ความสูงของต้นถั่วจากพื้นดินถึงปลายยอด
2.ปุ๋ยอินทรีย์ หมายถึง ปุ๋ยที่ผลิตชึ้นจากผลิตภัณฑ์ของพืชหรือสัตว์
3.ปุ๋ยเคมี หมายถึง ปุ๋ยที่ผลิตขึ้นโดยกระบวนการทางอุตสาหกรรม

5.2 หลักการเขียน การเขียนคำนิยามศัพท์มีหลักการทั่วไปดังนี้
(ก) เขียนให้สอดคล้องกับแนวความคิดทางทฤษฎี
(ข) เขียนตามให้เป็นนิยามปฏิบัติการที่สังเกตหรือวัดได้ 
(ค) เขียนให้ชี้นำไปสู่การวัดค่าตัวแปรได้ 

6.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
        ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับของการวิจัยเป็นหัวสุดท้ายของบทนำ มีจุดประสงค์เพื่อเสนอแนวทางให้เห็นผลผลิตของการวิจัยและประโยชน์ที่เกิดจากการนำผลผลิตไปใช้งาน 
        6.1 รูปแบบการเขียน  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับเขียนให้ประกอบด้วยผลผลิตและประโยชน์
        ตัวอย่างเช่น  การวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์ผลตอบแทนของการปลูกแตงโมนอกฤดูกาล นักวิจัยเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับของการวิจัย ดังนี้ 
(ก)ได้ทราบผลตอบแทนของการปลูกแตงโมนอกฤดูกาล
(ข).เป็นแนวทางในการส่งเสริมอาชีพและเพิ่มรายได้แก่เกษตรกรใน
อนาคต

จากตัวอย่างข้างบน สามารถวิเคราะห์ตามรูปแบบได้ดังนี้
 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ตัวอย่าง
 ผลผลิต
ได้ทราบผลตอบแทน
 ประโยชน์
เป็นแนวทางในการส่งเสริม

6.2  หลักการเขียน การเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับมีหลักการทั่วไปดังนี้
(ก) เขียนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
(ข) เขียนให้สอดคล้องกับความสำคัญของปัญหาการวิจัย
------------------------------------------------------------------------------------------------